วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2563

Research

สรุปวิจัย 

การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์​ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบทักษะ

เอรวารรณ ศรีจักร

ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง การพัฒนทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดย​ใช้​กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

ความมุ่งหมายของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจำแนกรายทักษะ หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะสมมติฐานในการวิจัยเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ มีการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกัน

วิธีดำเนินการวิจัย

1. การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชาย - หญิงที่มีอายุระหว่าง 4 - 5 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 การศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทรเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่การศึกษา 2 ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับสลากเลือกจำนวน 1 ห้องเรียน จกจำนวน 2 ห้องเรียน และผู้วิจัยสุ่มนักเรียนเข้ากลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

2.1 ชุดแบบฝึกทักษะวิทยตาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้ (Brain - Based

Learning) ของ รศ.ตร.กุลยา ตันติผลาชีวะ

2.2 แผนกรจัดกิกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระตามชุดแบบฝึกทักษะ

2.3 แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

3. ขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้า

3.1 ขอความร่วมมือกับผู้บริหารโรงเรียนในการทำวิจัย

3.2 ชี้แจงให้ครูประจำชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย และขอความร่วมมือในการดำเนินการวิจัย

3.3 สร้างความคุ้นเคยกับเด็กกลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์

34 ก่อนทำการทดลอง ผู้วิจัยทำการประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

3.5 ดำเนินการทดลองโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ ระหว่างวันที่ 18 มิถุนายน 2550 ถึงวันที่ 10 สิหาคม 2550 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ได้แก่ วันจัทร์ วันพุธ และวันตุก วันละ 30 นาที ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา09.00 - 09.30 น. รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง 3:6 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยทำการประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลังการใช้กิจกรมการเรียนประกอบชุดแบบฝึกทักษะ โดยใช้แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาตาสตร์สำหรับเด็กปฐมว้ ซึ่งเป็นแบบประเมินชุดเดียวกับที่ใช้ประเมินก่อนการทดลองและนำคะแนนที่ได้จากการประเมินไปทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป

4. การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยดำเนิการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ ดังนี้

4.1 หาสถิติพื้นฐานแสดงคะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

4.2 เปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ โดยใช้ t - test แบบ Dependent

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

1. พัฒนาการทักษะกระบวนการวิทยศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวม หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุแบบฝึกทักษะอยู่ในระดับดีมากและจำแนกรายทักษะ อยู่ในระดับดีมาก 3 ทักษะ

คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็น และอยู่ในระดับดี 1 ทักษะ คือ ทักษะการจำแนกประเภท

2. พัฒนาการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้

ประกอบชุดแบบฝึกทักษะสูงขึ้นกวก่อนการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1

👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏

วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

Experiment 1

 คลิป การทดลอง

เรื่อง ภูเขาไฟลาวา



Experiment 2

วีดีโอการทดลอง

เรื่อง แรงตึงผิว 





Development media

 สื่อเพื่อพัฒนาลูกรัก

นิทาน พ่อค้าเรือกับเกลือ





คุยกับลูก “ถ้าหนูเป็นลา หนูจะมีนิสัยขี้โกงเหมือนลาหรือไม่…เพราะอะไร” บทสรุป “เห็นมั๊ยจ๊ะ ผู้ที่ชอบใช้เลห์เหลี่ยมไม่ซื่อตรง ย่อมได้รับผลร้ายจากการกระทำของตนเองนะ” เล่นกับลูก ให้เด็กทำการทดลอง “น้ำเดินได้” มีอุปกรณ์ให้ผู้ปกครอง ดังนี้ 1.กระดาษทิชชู่ 2.แก้วน้ำ 3.สีผสมอาหาร 4.น้ำเปล่า ขั้นตอนการทำ - นำเเก้วน้ำติกที่เตรียมไว้ทั้งหมดมาเรียงแถวต่อกัน หรือ จะทำเป็นวงกลมก็ได้นะคะ - เทน้ำลงไปในเเก้ว เทแก้วเว้นแก้ว - นำสีผสมอาหารมาใส่ลงในเเก้วที่ใส่น้ำไว้ - นำกระดาษทิชชู่มาม้วนทำเป็นสะพานเชื่อมระหว่างแก้วที่ติดกัน ผลจากการทดลอง เนื่องจากกระดาษทิชซู่มีคุณสมบัติ Capillary Action (การซึมผ่านรูเล็กๆ) เพราะทำมาจากเยื่อต้นไม้ จึงใช้หลักการเดียวกับที่พืชลำเลียงน้ำจากพื้นดินไปสู่ส่วนต่างๆนั้นเอง ประโยชน์ “น้ำเดินได้” - ช่วยเสริมทักษะการคิด วิเคราะห์


Learning Record 10

 

 บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2563

เวลาเรียน 08:30-12:30 น

เนื้อหาที่เรียน

    สรุป         Mymap ping


การทำหน่วยการเรียนรู้
    หน่วย ผลไม้



และการนำผลไม้มาทดลองนั้นเอง

 ชื่อการทอลอง ผลไม้ภูเขาไฟ


👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏


คำศัพท์

 Mymap ping แผนผังความคิด

learning unit หน่วยการเรียนรู้

look ลักษณะ

benefit ประโยชน์

caution ข้อควรระวัง


ประเมิน

เพื่อน: ร่วมกันทำกิจกรรม

อาจารย์: อธิบายวิธีการในการทำกิจกรรม

ตัวเอง:ตั้งใจทำกิจกรรม

💗💗💗💗💗💗💗💗💗💗💗💗💗💗


Learning Record 9



  บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2563

เวลาเรียน 08:30-12:30 น

เนื้อหาที่เรียนวันนี้

   วันนี้อาจารย์ได้แจกกระดาษแข็งมา 1 แผ่นเล็ก แล้วให้ตัดออกเป็น 2 แผ่นเล็กกว่าเดิม แล้วให้นักศึกษาออกแบบว่า จะทำยังไงให้มันลอยได้นานที่สุด 

แล้วต่อมาอาจารย์ให้ลองทำ ใส่กระดาษที่อ่อนกวว่าเดิม ที่ผลที่ออกมา กระดาษที่อ่อนกว่าที่ล่อนลงช้ากว่ากระดาษที่แข็งกว่า

🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥🐥

กิจกรรมต่อ อาจารย์ให้นักศึกษานำดินน้ำมันมาปั้นมาให้นักศึกษาคิดว่าจะทำยังให้ ดินน้ำมันลอยเหนือน้ำแต่ละคนก็ทำเป็น ลูกเล็กบ้าง และทำเป็น ถ้วยบ้าง


คำศัพท์
design ออกแบบ
air อากาศ
rubbber ball ลูกยาง
float การลอย
floation การลอยตัว 

ประเมิน 
เพื่อน: ตั้งใจและสนใจในกิจกรรม
อาจารย์: นำกิจกรรมต่างมาให้นักศึกษาทำ
ตัวเอง: ตั้งใจทำกิจกรรมของตนเอง

💜💜💛💛💚💚💙💙💙💚💚💛💛💜💜




Learning Record 8




 บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วันศุกร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2563

เวลาเรียน 08:30-12:30 น.

เนื้อหาที่เรียนวันนี้

  อาจารย์ให้นักศึกษาดูคลิปเกี่ยวกับน้ำและคุณสมบัติของน้ำ

สรุปสิ่งที่ได้

1.น้ำเป็นองค์ประกอบของชีวิต

2.แรงกดดันของน้ำ

3.ของเหลวของแข็ง

4.ก๊าซ

5.เกิดการควบแน่น

6.การระเหยของน้ำ

7.ฝนตกเกิดจาก 


กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้นักศึกษา ทำเครื่องที่เกียวกับนำ ให้คิดแบบออกมาแล้ว วาด ว่านักศึกษาจะทำแบบไหนกลุ่มของพวกเราทำ น้ำผุ


คำศัพท์
pressure แรงกดดัน
life ชีวอต
rain ฝน
gas ก๊าซ
evaporationg การระเหย

ประเมิน
เพื่อน: มีการสังเกตและช่วยกันคิดว่าจะทำอย่างไร
อาจารย์: ถามเพื่อนักศึกษาได้คิดต่อกับการที่ทำ น้ำพุ
ตัวเอง: ช่วยกันในการทำและช่วยเพื่อนตอบคำถาม




Research

สรุปวิจัย  การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์​ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบทักษะ เอรวารรณ ศรีจักร ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง...